พิมพ์ชื่อผู้ถวายพระไตรปิฎก
พิมพ์หนังสือธรรมะ แจกเป็นธรรมทาน ราคาโรงพิมพ์ธรรมทาน เบาะรองนั่งสมาธิ สถานที่ตั้ง ศูนย์จำหน่ายพระไตรปิฎก

สรุปเนื้อหา ในหนังสือพระไตรปิฎก ภาษาไทย 45 เล่ม

หนังสือพระไตรปิฎกชุดนี้เป็นหนังสือที่ถูกจัดพิมพ์ใหม่ โดย มหาจุฬาลงกรณ
ราชวิทยาลัย และทางศูนย์จะส่งพระไตรปิฎกได้เริ่มจัดส่งเมื่อปี 2565 เป็นต้นมา


ดำเนินการจัดส่งทั่วประเทศ โดย บริษัทขนส่งทั่วไทย โดย ศูนย์หนังสือพระพุทธศาสนาไตรลักษณ์

ตั้งอยู่เลขที่ 19/10 หมู่3 ต.บางกระทึก อ.สามพราน จ.นครปฐม
(ฝั่งเดียวกันกับ พุทธมณฑลองค์พระ)
ในซอยวัดญาณเวศกวัน เปิดบริการทุกวัน ตั้งแต่เวลา 8.00-17.00 น.
โทร.02-482-7358, 086-461-8505,087-696-7771, 02-482-7093
LINE : @TRILAKBOOKS

รีวิวหนังสือพระไตรปิฎก ภาษาไทย ฉบับล่าสุด

#ฐานรองพระไม้สัก #แท่นวางพระ #โต๊ะวางพระพุทธรูป #รับสั่งทำฐานพระ #ฐานวางพระ #ฐานพระบูชา #แท่นวางพระ #ฐานพระพุทธรูป #ฐานรองพระบูชา #ฐานรองพระพุทธรูป #ฐานวางพระพิฆเนศ #แท่นรองสิ่งศักดิ์สิทธิ์ #ฐานเสริมองค์พระพุทธรูป
กิจกรรม ภาพการจัดส่งพระไตรปิฎก ทั่วประเทศ

บริจาคเงิน COVID

หนังสือพระไตรปิฎก ภาษาไทย 91 เล่ม ครบสมบูรณ์

เกร็ดความรู้ เกี่ยวกับพิธีการทำบุญและอนุโมทนาวิธี

พระพุทธรูปปางสมาธิ พระพุทธรูปปางชนะมาร และพระพุทธรูปแบบต่างๆ

หนังสือธรรมโฆษณ์ ของหลวงพ่อพุทธทาส ภิกขุ ครบชุด 81 เล่ม
ตู้พระไตรปิฎก 45 เล่ม 
ไทย/บาลี/ส.ธรรมภักดี
ตู้พระไตรปิฎก 91 เล่ม ไทย

ป้ายอลูมิเนียมอย่างดี สีทอง ติด บนตู้พระไตรปิฎก

หรือ บนกล่อง-หีบ-บรรจุพระคัมภีร์ต่างๆ ในราคาโรงงาน 700 บาท
กลุ่มหนังสือสำหรับพระภิกษุ
พระไตรปิฎก-แบบเรียน-นักธรรม-ตรี-โท-เอก



ศูนย์จัดส่งตู้และหนังสือพระไตรปิฎก
ไตรลักษณ์ตั้งอยู่เลขที่ 19/10 
หมู่3 ต.บางกระทึก อ.สามพราน จ.นครปฐม

ศูนย์จัดส่งตู้และหนังสือพระไตรปิฎก
ไตรลักษณ์
ตั้งอยู่เลขที่ 19/10
หมู่3 ต.บางกระทึก อ.สามพราน จ.นครปฐม
(ฝั่งเดียวกันกับ พุทธมณฑลองค์พระ)
ในซอยวัดญาณเวศกวัน เปิดบริการทุกวัน
ตั้งแต่เวลา 8.00-17.00 น.

086-461-8505,
087-696-7771,


E-mail : trilak_books@yahoo.com



#และเพื่อความรวดเร็วในการสนทนา
ช่องทางการติดต่อทาง/ #สั่งซื้อทางLine
~สั่งพิมพ์หนังสือเพื่อแจกเป็นธรรมทาน
~สั่งชุดพระไตรปิฎกแบบต่างๆ

👨🏻‍💻 #LINE : @trilakbooks
หรือกดที่ ลิงค์ add Line ด้านล่างได้เลยครับ

https://
line.me/R/ti/p/%40trilakbooks

หนังสือแบบเรียนนักธรรม สำหรับพระภิกษุสงฆ์และสามเณร


การสั่งสินค้าและผลิตภัณฑ์

สำหรับท่านที่ประสงค์จะสั่ง ตู้พระไตรปิฎก
และหนังสือพระไตรปิฎก
หรือผลิตภัณฑ์อื่นๆ

สามารถ ทำได้ดังนี้ หรือสอบถามข้อมูลเพิ่มเติม

ได้ที่

087-696-7771 086-461-8505
หรือส่ง mail มาที่

trilak_books@yahoo.com


#และเพื่อความรวดเร็วในการสนทนา
ช่องทางการติดต่อทาง/ #สั่งซื้อทางLine
~สั่งพิมพ์หนังสือเพื่อแจกเป็นธรรมทาน
~สั่งชุดพระไตรปิฎกแบบต่างๆ

👨🏻‍💻 #LINE : @trilakbooks
หรือกดที่ ลิงค์ add Line ด้านล่างได้เลยครับ
https://line.me
/R/ti/p/%40trilakbooks



1.เขียน ชื่อ ผู้ติดต่อ + เบอร์ติดต่อกลับ

2.ชื่อตู้พระไตรปิฎก (หรือแนบภาพ)

3.แจ้งชื่อหนังสือพระไตรปิฎก (หรือแนบภาพ)

4. หากมีข้อความ แทรก ผู้จัดพิมพ์ถวายหนังสือฯ
สามารถแนบมาได้ในคราวเดียวกัน

5.สถานที่จัดส่ง แบบละเอียดเพื่อให้ศูนย์หนังสือฯ
ประเมินค่าจัดส่งได้ต่อไป
ซึ่งจัดส่งโดยบริษัทขนส่งที่พร้อมดูแล
จัดส่งได้ทั่วประเทศ

 

พิมพ์หนังสือธรรมะ, หนังสือที่ระลึก,

ดำเนินการจัดส่งตู้และหนังสือพระไตรปิฎกทั่วไทย
โดยศูนย์หนังสือไตรลักษณ์
ดำเนินการจัดส่งตู้และหนังสือพระไตรปิฎกทั่วไทย
โดยศูนย์หนังสือไตรลักษณ์

..........................................................
หนังสือพุทธธรรม-700บาท


หมวดหมู่ผลิตภัณฑ์


หนังสือพระไตรปิฎกทุกแบบ


หนังสือพระไตรปิฎก 45 เล่ม
ภาษา ไทย ราคา 15,000.-


หนังสือพระไตรปิฎก 91 เล่ม
ภาษา ไทย ราคา 25,000.-


หนังสือพระไตรปิฎก ฉบับ ส.ธรรมภักดี จำนวน 100 เล่ม

ภาษาไทย ราคา 18000 บาท (ยังไม่รวมค่าจัดส่งทั่วไทย)
หนังสือพระไตรปิฎก 100 เล่ม ส.ธรรมภักดี
(ภาษาไทย) ราคา 18,000.-


อรรถกถาภาษาไทย (มจร)
อรรถกถาภาษาไทย (มจร)


หนังสือพระไตรปิฎก สยามรัฐภาษาไทย
ราคามูลนิธิ 15500 บาท

หนังสือพระไตรปิฎก 45 
ภาษาบาลี ราคา 13,000.-
หนังสือพระไตรปิฎก 45 เล่ม
ภาษาบาลี อักษรไทย ราคา 13,000.-


พระไตรปิฎก ฉ. ประชาชน (ไทย)
1 เล่มจบ ย่อจาก 45 เล่ม บาลี 500.-



หนังสือคัมภีร์วิสุทธิมรรค แปลไทย

หนังสือวิมุตติมรรค ทางแห่งความหลุดพ้น

เล่าไว้เมื่อวัยสนทยา

หนังสือพุทธธรรม ฉบับปรับขยาย ราคาเล่มละ 700 บาท
พุทธธรรมฉบับปรับขยาย (ล่าสุด)


แบบตู้พระไตรปิฎกทั้งหมด

ตู้พระไตรปิฎก 45 เล่ม 
ไทย/บาลี/ส.ธรรมภักดี
ตู้พระไตรปิฎก 45 เล่ม 
ไทย/บาลี/ส.ธรรมภักดีตู้พระไตรปิฎก 45 เล่ม 
ไทย/บาลี/ส.ธรรมภักดีตู้พระไตรปิฎก 45 เล่ม 
ไทย/บาลี/ส.ธรรมภักดี
ตู้พระไตรปิฎก 45 เล่ม 
ไทย/บาลี/ส.ธรรมภักดีตู้พระไตรปิฎก 45 เล่ม 
ไทย/บาลี/ส.ธรรมภักดี
ตู้พระไตรปิฎก 45 เล่ม
ไทย/บาลี/ส.ธรรมภักดี



ตู้พระไตรปิฎก 91 เล่ม ไทย



ตู้พระไตรปิฎก 91 เล่ม ไทย



ตู้พระไตรปิฎก ฉบับแก่นธรรม

 



ตู้หนังสือ ทั่วไป

 

 

ชุดพระมาลัยคัมภีร์แผ่นพับ พร้อมกล่องบรรจุลงรักปิดทองทั้งหลัง ราคา 6500 บาท
ชุดพระมาลัยคัมภีร์แผ่นพับ พร้อมกล่องบรรจุลงรักปิดทองทั้งหลัง ราคา 6500 บาท



หีบบรรจุ พร้อมกับ
คัมภีร์ พระมาลัย (พระอภิธรรม) 5,000.-

ชุด พระคัมภีร์ ใบลาน เทศน์มหาชาติ ธรรมวัตร 

ราคา ทั้งชุด 4,700.- บาท

(ยังไม่รวมค่าจัดส่งทั่วไทย โดยบริษัทขนส่งทั่วประเทศ)
หีบบรรจุ
คัมภีร์ ใบลานมหาชาติ ธรรมวัตร 4,700.-



หีบบรรจุ
คัมภีร์ ใบลานมหาชาติ ทำนองภาคกลาง
สำหรับ วัดพระอารามหลวง 5,000.-


ชุด พระคัมภีร์ ใบลาน เทศน์มหาชาติ ภาคอีสาน ราคา ทั้งชุด 5,000.- บาท

(ยังไม่รวมค่าจัดส่งทั่วไทย โดยบริษัทขนส่งทั่วประเทศ)

หรือ ที่เรียกว่า ลำมหาชาติ เป็น เทศน์มหาชาติภาคอีสาน 
ที่บรรจงสรรสร้างขึ้นจากใบลานริมทอง แท้ อย่างดี

พร้อมหีบบรรจุ แบบลงรักปิดทองสวยงาม ทำให้ผู้ที่สนใจศึกษา
หรือจะถวายพระภิกษุ ในงานพิธีสงฆ์ มีความรู้สึกปลาบปลื้มยินดี
ที่จักได้รับ พระคัมภีร์ชุดนี้ ไว้ศึกษาต่อไป
หีบบรรจุ
คัมภีร์ ใบลานมหาชาติ มหาชาติ
ลำมหาชาติ (ภาคอีสาน) 5,000.-


ต้นไม้ตรัสรู้-งานหัตถกรรมจากเนื้อโลหะ-ลงรักปิดทอง
 
ดอกบัว-ลงรักปิดทอง-ประดับกระจกคละสี-2200บาท
ใบโพธิ์ทอง

ใบโพธิ์สีทอง

 
 
 
 
 

 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 

หนังสือพระไตรปิฎกภาษาไทย พิมพ์ใหม่ล่าสุด


สรุปเนื้อหา ในหนังสือพระไตรปิฎก ภาษาไทย 45 เล่ม

การสรุปเนื้อหาภายในเล่มพระไตรปิฎกทั้งหมด 45 เล่ม
เป็นเพียงการบอกขอบเขตของเนื้อหาในหนังสือพระไตรปิฎก
แต่ละเล่มเท่านั้นเพื่อให้รู้เนื้อหาคร่าวๆว่าภายใน
หนังสือพระไตรปิฎก แต่ละเล่มนั้นหมายถึงอะไรบ้าง
และกล่าวถึงอะไรบ้างเป็นพิเศษ

ข้อความทั้งหมด ได้หยิบยกอ้างอิงจากเอกสารภายใน
หนังสือพระไตรปิฎกทุกเล่ม โดยส่วนใหญ่
จะคัดลอกมาจากหน้าบทนำ ที่อยู่ในช่วงต้น
ของหนังสือพระไตรปิฎกตั้งแต่เล่มที่ 1
ถึงเล่มที่ 45

ทางศูนย์จัดส่งคัดไทยปิฎกในราคามูลนิธิทั่วประเทศ
มีความปรารถนา ในการจัดทำเอกสารชุดนี้เพื่อ
ให้เกิดประโยชน์และเป็นเข็มทิศ ในการศึกษา
พระไตรปิฎกได้โดยง่ายยิ่งขึ้น เพราะเนื่องจาก
หนังสือพระไตรปิฎกทั้งชุดนั้น มีปริมาณเนื้อหา
และจำนวนเล่มที่ค่อนข้างมาก การทำดัชนีและ
ขอบเขตเนื้อหาแบบคราวๆนี้ น่าจะเป็นประโยชน์
ไม่มากก็น้อยแก่ผู้ศึกษาพระไตรปิฎก ได้ง่ายยิ่งขึ้น

เนื้อหา พระไตรปิฎก เล่มที่ 1
พระวินัยปิฎก
มหาวิภัง ภาค1
เนื้อหาในคร่าวๆ : หนังสือพระไตรปิฎก เล่มที่ 1
คือประมวลพุทธบัญญัติ เกี่ยวกับ ระเบียบปฏิบัติ
ขนบธรรมเนียมประเพณี วิถีชีวิต และวิธีดำเนินกิจการต่างๆ
ของภิกษุสงฆ์ และ ภิกษุณีสงฆ์
พระวินัยซึ่งเป็นพุทธบัญญัตินี้ แบ่งออกเป็น 2 เส่วน คือ
อาทิพรหมจริยกาสิกขา และ อภิสมาจาริกาสิกขา

พระวินัยนั้น พระพุทธองค์ไม่ได้ทรงบัญญัติล่วงหน้า
ต่อเมื่อเกิดเสียหายขึ้นจึงทรงบัญญัติสิกขาบทห้ามประพฤติ
เช่นนั้นอีก ดังจะเห็นได้ว่า ในตอนต้นพุทธกาล
คือ ตั้งแต่พรรษาที่ 1 ถึง พรรษาที่ 11 พระพุทธเจ้ายังไม่ได้
ทรงบัญญัติสิกขาบทไว้แน่นอน
เพราะภิกษุสงฆ์ล้วนมีวัตตปฏิบัติที่ดีงาม ศีลของภิกษุสงฆ์เรียกว่า
"ปาฏิโมกข์สังวรศีล" จัดเป็นจาริตตศีล คือ ระเบียบปฏิบัติตาม
แบบอย่าง ที่พระพุทธเจ้าทรงประพฤติปฏิบัติมา
ในระยะที่ยังไม่มีพุทธานุญาตให้ภิกษุสงฆ์สวดพระปาฏิโมกข์
ทุกกึ่งเดือน ใน 20 พรรษาแรกนั้น พระพุทธเจ้า
ทรงแสดงโอวาทปาติโมกข์เอง ทุกกึ่งเดือน

พระวินัยเป็นสิ่งสำคัญและจำเป็นสำหรับฝึกหัดอบรมกุล
บุตรผู้เข้ามา บวชในพระพุทธศาสนาเพราะผู้เข้ามาบวช
นั้นมาจากต่างตระกูล ต่างชนชั้น ต่างอัธยาศัย
ต่างจิตต่างใจหากไม่มีพระวินัยควบคุม
ความประพฤติให้เป็นระเบียบเรียบร้อย ก็จะเป็นหมู่ภิกษุสงฆ์
ที่สับสนวุ่นวาย ไม่เป็นที่ตั้งแห่งความเลื่อมใสศรัทธา
ถ้าภิกษุสงฆ์ ทุกรูปประพฤติตามพระวินัย ก็จะเป็น
หมู่ภิกษุสงฆ์ที่งดงาม นำให้เกิดความเลื่อมใสศรัทธา
และทำให้พระพุทธศาสนาดำรงอยู่ยืนนาน
เปรียบเหมือนดอกไม้นานาชนิด ถูกร้อยไว้ด้วยได้จึงไม่แตกแยก
กระจัดกระจาย ทั้งยังคุมกันเข้าเป็นพวงมาลัย
ที่สวยสดงดงาม

พระวินัยปิฎกนี้ แบ่งออกเป็น 5 คัมภีร์ คือ
มหาวิภังค์ หรือ ภิกษุวิภังค์ ว่าด้วยสิกขาบท
หรือ ศีลของภิกษุสงฆ์ 227 ข้อ
ภิกขุนีวิภังค์ ว่าด้วย สิกขาบท หรือ ศีลของ ภิกษุณี 311 ข้อ
ที่มาในพระปาติโมกข์ มหาวรรค ว่าด้วยสิกขาบทนอก
พระปาติโมกข์ ตอนต้น 10 ขันธกะ หรือ หมวดจุลวรรค
ว่าด้วยสิกขาบทนอกพระปาติโมกข์ ตอนปลาย 10 ขันธกะ
ปริวาร คือคัมภีร์ ประกอบ หรือคู่มือที่บรรจุคำถาม คำตอบ
สำหรับซ้อมความรู้ เรื่องพระวินัยซึ่งเป็นการทบทวนเนื้อหา
ของสี่คัมภีร์แรก

เนื้อหา พระไตรปิฎก เล่มที่ 2

พระวินัยปิฎก มหาวิภัง ภาค2
เนื้อหาในคร่าวๆ : หนังสือพระไตรปิฎก เล่มที่ 2
พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ แบ่งออกเป็น 2 ภาค คือ
ภาค 1 เป็นวินัยปิฎก เล่ที่ 1 ว่าด้วยบทบัญญัติใน
ปาราชิกกัณฑ์ สังฆาทิเสสกัณฑ์ และ อนิยตกัณฑ์ รวมทั้งสิ้น
19 สิกขาบท บทบัญญัติเหล่านี้ ยกเว้น อนิยตสิกขาบท
ปรับโทษสถานหนัก แก่ภิกษุผู้ล่วงละเมิด เป็นครุกาบัติ (อาบัติหนัก)
เป็นทุฏฐุลลาบัติ (อาบัติชั่วหยาบ) ภิกษุผู้ล่วงละเมิดบทบัญญัติ
ในปาราชิกกัณฑ์ ต้องอาบัติปาราชิก ขาดจากความเป็นภิกษุ
ปาราชิก เรียกอีกอย่างหนึ่งว่า "อนวเสสาบัติ"
(อาบัติไม่มีส่วนเหลือ)

ส่วนใน มหาวิภัง ภาค 2 เป็นวินัยปิฎก ในพระไตรปิฎกเล่มที่ 2 ว่าด้วย
บทบัญญัติในนิสสัคคิยกัณฑ์ ปาจิตติยกัณฑ์ ปาฏิเทสนิยกัณฑ์
เสขิยกัณฑ์ และ อธิกรณสมถะ 7 รวมเป็น 208 สิกขาบท
โดยแบ่งเนื้อหาออกเป็นวรรค และตั้งชื่อวรรคตามความแห่
งสิกขาบทที่ 1 ของแต่ละวรรคเป็นหลัก บทบัญญัติ
เหล่านี้ ปรับโทษสถานเบา แก่ภิกษุผู้ล่วงละเมิด เป็นลหุกาบัติ
คือ ปรับอาบัตินิสสัคคิยปาจิตตีย์ ปาจิตตีย์ ปาฏิเทสนียะ
ทุกกฏ หรือ ทุพภาสิต แก่ภิกษุผู้ล่วงละเมิดตามสมควรแก่กรณี

 

หนังสือพระไตรปิฎก เล่มที่ 3
พระวินัยปิฎก
ภิกขุนีวิภังค์
เนื้อหาในคร่าวๆ : หนังสือพระไตรปิฎก เล่มที่ 3
พระวินัยปิฎก เล่มที่ 3 คือ ภิกขุนีวิภังค์
ว่าด้วยบทบัญญัติของภิกษุณีสงฆ์ ใน ปาราชิกกัณฑ์
สังฆาทิเสสกัณฑ์ ปาจิตติยกัณฑ์ ปาฏิเทสนียกัณฑ์ เสขิยกัณฑ์
และอธิกรณสมถะ รวมเป็น 311 สิกขาบท
โดยปรับโทษสถานหนัก แก่ภิกษุณีผู้ล่วงละเมิด
บทบัญญัติในปาราชิกกัณฑ์ และ สังฆาทิเสสกัณฑ์
และปรับโทษสถานเบา แก่ภิกษุณีผู้ล่วงละเมิด
บทบัญญัติในกัณฑ์ที่เหลือ

ึคำว่า ภิกขุณีวิภัง แปลว่า ข้อแจกแจงเกี่ยวกับภิกษุณี
การจำแนกความ เกี่ยวกับสิกขาบทของภิกษุณี สิกขาบทเหล่านี้
เรียกโดยรวมว่า "ภิกษุนีปาติโมกข์" เป็นบทบัญญัติสงฆ์
จะต้องสวดในที่ประชุมสงฆ์ทุกครึ่งเดือน
เหมือนกับภิกษุสงฆ์สวดภิกขุปาติโมกข์

 

หนังสือพระไตรปิฎก เล่มที่4
พระวินัยปิฎก มหาวรรค ภาค 1

เนื้อหาในคร่าวๆ : หนังสือพระไตรปิฎก เล่มที่ 4
พระไตรปิฎก มหาวรค มี 2 ภาค แบ่งเนื้อหาออกเป็น
10 ขันธกะ มหาวรรค ทั้ง 2 ภาค มีเนื้อหา ว่าด้วยระเบียบ
ปฏิบัติ ขนบธรรมเนียบประเพณีสงฆ์ เรียกโดยรวมว่า
"อภิสมาจาริกสิกขา" ไม่ได้เป็นสิกขาบทบัญญัติ
ไม่ได้มาในพระปาติโมกข์
สงฆ์ไม่ต้องยกขึ้นแสดงทุกครึ่งเดือน

มหาวรรค แปลว่า หมวดใหญ่ เนื้อหาในคัมภีร์วรรค
ภาค 1 นี้ เนื่องจากไม่ได้เป็นสิกขาบทบัญญัติ ในกรณี
ที่เป็นข้อห้าม ถ้าภิกษุล่วงละเมิดไม่ได้ปฏิบัติตาม บางกรณี
ทรงปรับเพียงอาบัติทุกกฏ บางกรณีปรับสูงขึ้นถึง
อาบัติถุลลัจจัย
ถุ ล ลั จ จั ย [ถุน-ละ-ไจ], ถุลลัจจัย น. 

 

หนังสือพระไตรปิฎกเล่มที่5
พระวินัยปิฎก มหาวรรค ภาค 2

เนื้อหาในคร่าวๆ : หนังสือพระไตรปิฎก เล่มที่ 5
พระวินัยปิฎก เล่มที่ 5 มหาวรรค ภาค 2 แบ่งเป็น 6 ขันธกะ
มีเนื้อหาที่ต่อจาก มหาวรรค ภาค 1 ที่ว่าด้วยเรื่องระเบียบปฏิบัติ
ขนบธรรมเนียบ ประเพณีสงฆ์ ที่เรียกโดยรวมว่า "อภิสมาจาริกสิกขา"
ได้แก่ ประมวลระเบียบปฏิบัติ สงฆ์ไม่ต้องยกขึ้นแสดงทุกครึ่งเดือน

เนื่องจากเนื้อหา ในมหาวรรค ภาค 2 นี้ มิได้เป็นสิกขาบทบัญญัติ
ในกรณี ที่เป็นข้อห้าม ถ้าภิกษุล่วงละเมิดไม่ปฏิบัติตาม
บางกรณีทรงปรับโทษ เพียงอาบัติทุกกฏ บางกรณีปรับโทษถึง
อาบัติถุลลัจจัย


หนังสือพระไตรปิฎก เล่มที่6 พระวินัยปิฎก จูฬวรรค ภาค 1

เนื้อหาในคร่าวๆ : หนังสือพระไตรปิฎก เล่มที่ 6

จูฬวรรค แปลว่า หมวดเล็ก หมายถึง หมวดที่ว่าด้วยเรื่อง
เบ็ดเตล็ด นอกจากบทบัญญัติที่มาในพระปาติโมกข์
เนื้อหาในคัมภีร์จูฬวรรค ภาค 1
เกือบจะทั้งหมด ไม่ว่าด้วยบทบัญญัติที่เป็นข้อห้าม
แต่จะว่าด้วยเรื่องระเบียบปฏิบัติ
เกี่ยวกับการลงนิคคหกรรม แก่ภิกษุผู้ประพฤติไม่สมควร
หลังจากที่ปรับอาบัติภิกษุนั้นแล้ว
ว่าด้วยปริวาสกรรมเพื่อออกจากอาบัติสังฆาทิเสสและว่าด้วย
อธิกรสมถะ คือ วิธีระงับ อธิกรในกรณีต่างๆ จึงปรากฏ
ข้อความที่ว่าด้วยการปรับอาบัติเพียงเล็กน้อยเท่านั้น

พระวินัยปิฎก จูฬวรรค มี 2 ภาค แบ่งเนื้อหาออกเป็น 12 ขันธกะ
คือ จูฬวรรค ภาค 1 มี 4 ขันธกะ จัดเป็นพระวินัยปิฎก เล่ม 6
และจูฬวรรค ภาค 2 มี 8 ขันธกะ จัดเป็นพระวินัยปิฎก เล่ม 7

 

หนังสือพระไตรปิฎก เล่มที่ 7
พระวินัยปิฎก จูฬวรรค ภาค 2

เนื้อหาในคร่าวๆ : หนังสือพระไตรปิฎก เล่มที่ 7

พระวินัยปิฎก จูฬวรรค ภาค 2 เล่มนี้
เ็นพระวินัยปิฎก เล่มที่ 7 มี 8 ขันธกะ มีเนื้อหาต่อจาก
พระวินัยปิฎก จูฬวรรค ภาค 1 ซึ่งเป็นพระวินัยปิฎก เล่มที่ 6
ที่ผ่านมาแล้ว

พระวินัยปิฎก จูฬวรรค ภาค 2 นี้ จะกล่าวด้วยเรื่อง
เบ็ดเตล็ดนอกจากบทบัญญัติ ที่มาในพระปาติโมกข์ ต่อจาก
จูฬวรรค ภาค 1 ซึ่งเป็นเรื่องเล็กน้อยเกี่ยวกับการประพฤติ
ประฏิบัติของภิกษุสงฆ์ ที่จะเรียกโดยรวม
ว่า "อภิสมาจาริกสิกขา" เช่น เป็นเรื่องข้อห้าม
และข้ออนุญาตเกี่ยวกับการปฏิบัติต่อร่างกายและอื่นๆ
เช่น เรื่องการสรงน้ำ ในที่ไม่สมควร
เรื่องการใช้เครื่องประดับ เรื่องการไว้ผมยาง
เรื่องการตบแต่งผม เรื่องการส่องกระจกดูเงาหน้า
เรื่องการแต่งหน้า เรื่องการไปชมมหรสพ
เรื่องการสาธยายธรรมลากเสียงยาว
เรื่องการใช้บริขารงดงาม เรื่องการเก็บรักษาบาตรจีวร
เรื่องการเปลือยกายไหว้กัน เรื่องการไว้เล็บยาว
เรื่องการไว้หนวด เรื่องการโกนขน วัตรปฏิบัติในการเข้า
อาราม ในการอยู่ในอาราม ในการออกเดินทาง
ในการอนุโมทนาทาน ในโรงฉัน ในการบิณฑบาตร
ในการอยู่ป่า ในเสนาสนะ ในเรือนไฟ ในวัจกุฎี

เรื่องที่กล่าวเหล่านี้ เป็นเรื่องเล็กน้อย ในกรณีที่เป็นข้อห้าม
ถ้าภิกษุล่วงเกิน ไม่ปฏิบัติตาม ทรงปรับอาบัติทุกกฏ
ปรับจูงขึ้น ไปจนถึง ถุลลัจจัย

 

หนังสือพระไตรปิฎก เล่มที่ 8

พระวินัยปิฎก ปริวาร
เนื้อหาในคร่าวๆ : หนังสือพระไตรปิฎก เล่มที่ 8

พระวินัยปิฎก คัมภีร์ปริวาร เป็นคัมภีร์สุดท้ายของพระวินัยปิฎก
จัดเป็นพระไตรปิฎก เล่มที่ 8

คำว่า "ปริวาร" หมายถึง หมวดพระบาลี
ที่พระธรรมสังคาหกาจารย์ ยกขึ้นสังคายนาต่อจาก
พระบาลีขันธกะ ที่จัดเป็นหมวดหมู่ไว้ เพื่อให้กุลบุตร
เกิดความฉลาดในส่วนต่างๆ มีอาบัติเป็นต้น
ที่ได้กล่าวมาแล้วทั้งในมาติกา และ วิในวิภังค์ เรียกว่า
ขันธกะ ดุจพระอรหันตขีณาสพ เป็นบริวารติดตาม
พระพุทธองค์

พระพุทธเจ้าทรงมีธรรมขันธ์ เป็นพระสรีระ
มีพระอรหันตขีณาสพเป็นบริวาร ส่วนพระวินัย
มีมาติกา (พระวินัยปิฎก เล่มที่ 1 - 3)
และขันธกะ (พระวินัยปิฎก เล่มที่ 4-7) เป็นสรีระ
เป็นคัมภีร์ปริวารเป็น บริวาร

 

หนังสือพระไตรปิฎก เล่มที่ 9

พระสุตตันตปิฎก ทีฆนิกาย สีลขันธวรรค
เนื้อหาในคร่าวๆ : หนังสือพระไตรปิฎก เล่มที่ 9

พระสุตตันตปิฎก ซึ่งเป็นปิฎก 1 ในจำนวน 3 ปิฎก
ที่เรียกว่า "พระไตรปิฎก" คือ พระวินัยปิฎก
(ประมวลพุทธพจน์หมวดพระวินัย)

พระสุตตันตปิฎก
ประมวลพุทธพจน์หมวดพระสูตร)

พระอภิธรรมปิฎก
(หมวดพุทธเจน์ หมวดพระอภิธรรม)

พระสุตตันตปิฎก เป็นประมวลพุทธพจน์
หมวดพระสูตรนั้นประกอบด้วย พระธรรมเทศนา และธรรม
บรรยายต่างๆ ที่ตรัสยักเยื้องให้เหมาะกับบุคคล เหตุการณ์
และโอกาส ตลอดจนบทประพันธ์ เรื่องเล่า และ เรื่องราว
ทั้งหลาย ที่ชั้นเดิมในพระพุทธศาสนา ที่เรียกว่า
พระธรรมเทศนา และธรรมบรรยายทั้งหลาย
ในพระสุตตันตปิฎก ว่า "สูตร" พระอรรถกถาจารย์
ผู้รจนาคัมภีร์ สมันตปาสาทิกา

 

หนังสือพระไตรปิฎก เล่มที่ 10

พระสุตตันตปิฎก ทีฆนิกาย มหาวรรค
เนื้อหาในคร่าวๆ : หนังสือพระไตรปิฎก เล่มที่ 10

พระไตรปิฎก เล่มที่ 10 คือพระสุตตันตปิฎก ทีฆนิกาย
มหาวรรค ซึ่งเป็นคัมภีร์เล่มที่ 2 ของทีฆนิกาย และ
ของพระสุตตันตปิฎก คัมภีร์ทีฆนิกาย มี 3 เล่ม คือ
พระสุตตันตปิฎก ทีฆนิกาย สีลขันธวรรค

ความหมายของคำว่ามหาวรรค คำว่า มหาวรรค
แปลว่า หมวดใหญ่ คำว่า หมวด ในที่นี้ หมายถึง
หมวดย่อย ของนิกาย คือเป็นตอนหนึ่งของทีฆนิกาย
ที่แปลว่า หมวดยาว โดยนัยนี้ คำว่า ทีฆนิกาย มหาวรรค
จึงหมายถึงหมวดพระสูตรใหญ่ของทีฆนิกาย ซึ่งรวบรวม
พระสูตรขนาดยาวไว้ถึง 34 สูตร

ใจความสำคัญของพระสูตรนี้ แบ่งเป็น 2 ตอน
ตอนที่ 1 ตรัสเล่าประวัติโดยสังเขป
ของพระเจ้าในอดีต 6 พระองค์ และของพระองค์เอง
ตอนที่ 2 ตรัสเล่าพระประวัติของพระพุทธเจ้า
พระนามว่า วิปัสสี โดยพิสดาร แต่พระองค์เดียว
แต่ทรงประสงค์ ให้เป็นตัวอย่างว่า พระพุทธเจ้าองค์อื่นๆ
รวมทั้งพระองค์เองก็มีพระประวัติเช่นนี้

 

หนังสือพระไตรปิฎก เล่มที่ 11

พระสุตตันตปิฎก ทีฆนิกาย ปาฏิกวรรค
เนื้อหาในคร่าวๆ : หนังสือพระไตรปิฎก เล่มที่ 11

พระไตรปิฎก เล่มที่ 11 คือพระสุตตันตปิฎก
ทีฆนิกาย ปาฏิกวรรค ซึ่งเป็นคัมภีร์ เล่มที่ 3 ของทีฆนิกาย
และ ของพระสุตตันตปิฎก คัมภีร์ทีฑนิกาย มี 3 เล่มด้วยกัน

ความหมาย ของ ปาฏิกวรรค
คำว่า ปาฏิกวรรค แปลว่า หมวดว่าด้วยปาฏิกสูตร
ซึ่งหมวดตั้งตามชื่อของพระสูตร ที่จะมีทั้งหมด 11 สูตร
โดยจะเริ่มตั้งแต่ พระสูตร ที่ 1 ปาฏิกสูตร
ว่าด้วยนักบวชเปลือยชื่อปาฏิกบุตร จนถึง
พระสูตรที่ 11 ทุสุตตรสูตร แปลว่า
พระสูตรว่าด้วยธรรม 10 ประการ
พระสูตรนี้ ท่านพระสารีบุตร แสดงแก่ภิกษุจำนวน 500 รูป
เพื่อให้บรรลุพระนิพพาน เพื่อทำที่สุดทุกข์

 

หนังสือพระไตรปิฎกเล่มที่ 12

พระสุตตันตปิฎก มัชฌิมนิกาย มูลปัณณาสก์
เนื้อหาในคร่าวๆ : หนังสือพระไตรปิฎก เล่มที่ 12

พระไตรปิฎก เล่มที่ 12 คือ มัชฌิมนิ มูลปัณณาสก์
ซึ่งเป็นคัมภีร์ที่หนึ่งในจำนวน 3 คัมภีร์แห่ง มัชฌิมนิกาย

ความหมายของ มัชฌิมนิกาย
คำว่า มัชฌิมนิกาย แปลว่า หมวดหรือหมู่ของพระสูตร
ขนาดกลาง คือไม่ยากมาก เหมือนพระสูตรท้งหลาย
ในทีฆนิกาย และ ไม่สั้นมากเหมือนพระสูตรทั้งหลาย
ในสังยุตตนิกาย แห่งพระสุตตันตปิฎก

 

หนังสือพระไตรปิฎก เล่มที่ 13
พระสุตตันตปิฎก มัชฌิมนิกาย มัชฌิมปัณณาสก์
เนื้อหาในคร่าวๆ : หนังสือพระไตรปิฎก เล่มที่ 13

พระไตรปิฎก เล่มที่ 13 คือ มัชฌิมนิกาย มัชฌิมปัณณาสก์
ซึ่งเป็นคัมภีร์ที่สองในจำนวนสามคัมภีร์แห่งมัชฌิมนิกาย

โดยการแบ่งหมวดหมู่พระสูตรในมัชฌิมนิกาย
มัชฌิมปัณณาสก์จะมีพระสูตรทั้งหมด 50 สูตร
โดยแบ่งออกเป็น 5 วรรค เริ่มตั้งแต่

คหปติวรรค มีทั้งหมด 10 สูตร
คหปติวรรค​แปลว่า หมวดว่าด้วย คหบดี
ชื่อวรรคตั้งตามสาระสำคัญของพระสูตร

ภิกขุวรรค มีทีั้งหมด 10 สูตร
ภิกขุวรรค์ แปลว่า หมวดว่าด้วยภิกษุ ชื่อวรรค
ตั้งตามสาระสำคัญของพระสูตรทุกสูตรในวรรคนี้

ปริพพาชกวรรค มีทั้งหมด 10 สูตร
ปริพพาชกวรรค แปลว่า หมวดที่ว่าด้วยปริพาชก
ชื่อวรรคตั้งตามสาระสำคัญของพระสูตร ซึ่งจะล้วนกล่าว
ถึงแต่ปริพาชก คือนักบวชนอกพระพุทธศาสนา

ราชวรรค มีทั้งหมด 10 สูตร
ราชวรรค แปลว่า หมวดว่าด้วยพระราชา
ชื่อวรรคตั้งตามสาระสำคัญของพระสูตร ในวรรคนี้
ซึ่งล้วนกล่าวถึงพระราชาในอดีตบ้าง ในปัจจุบันบ้าง

พราหมณวรรค มีทั้งหมด 10 สูตร
พราหมณวรรค แปลว่า หมวดว่าด้วยพราหมณ์
ชื่อวรรคตั้งตามสาระสำคัญของพระสูตร

ตัวอย่างเนื้อหาภายในเล่ม ของหนังสือพระไตรปิฎก เล่มที่ 13
ตัวอย่างเนื้อหาภายในเล่ม ของหนังสือพระไตรปิฎก เล่มที่ 13

หนังสือพระไตรปิฎกเล่มที่ 14

หนังสือพระไตรปิฎกเล่มที่ 14
พระสุตตันตปิฎก มัชฌิมนิกาย อุปริปัณณาสก์
เนื้อหาในคร่าวๆ : หนังสือพระไตรปิฎก เล่มที่ 14

พระไตรปิฎก เล่มที่ 14 คือพระสุตตันตปิฎก มัชฌิมนิกาย
อุปริปัณณาสก์ เป็นคัมภีร์มัชฌิมนิกายคัมภีร์สสุดท้าย
ในจำนวน 3 คัมภีร์ คือ
1. มัชฌิมนิกาย มูลปัณณาสก์
2. มัชฌิมนิกาย มัชฌิมปัณณาสก์
3. มัชฌิมนิกาย อุปริปัณณาสก์

การแบ่งหมวดหมู่พระสูตร ในมัชฌิมนิกาย อุปริปัณณาสก์
พระสูตร ในมัชฌิมนิกาย อุปริปัณณาสก์ แบ่งออกเป็น
วรรค 5 วรรค คือ 1.เทวทหวรรค 2.อนุปทวรรค
3.สุญญตวรรค 4.วิภังควรรค 5.สฬยตนวรรค

 

หนังสือพระไตรปิฎก เล่มที่ 15
หนังสือพระไตรปิฎก เล่มที่ 15
พระสุตตันตปิฎก สังยุตตนิกาย สคาถวรรค
เนื้อหาในคร่าวๆ : หนังสือพระไตรปิฎก เล่มที่ 15

พระไตรปิฎก เล่มที่ 15 คือ พระสุตตันตปิฎก
สังยุตตนิกาย สคาถวรรค

สังยุตตนิกาย เป็นชื่อนิกายหนึ่งของพระสัตตันตปิฎก
นับเป็นนิกายที่ 3 ในจำนวน 5 นิกาย

ความหมายของคำว่า สังยุตตนิกาย
นิกาย แปลว่า หมวด หรือหมู่
หมายถึง หมวดหรือหมู่พระสูตร คำว่า "สังยุตต"
แปลว่า ประกอบ รวบรวม หรือประมวล หมายถึง
ประมวลพระสูตร ที่มีเนื้อหาสาระอย่างเดียวกัน
หรือเกี่ยวข้องกัน มารวมไว้เป็นหมวดเดียวกัน
คำว่า สังยุตตนิกาย จึงแปลว่า
หมวดประมวลเนื้อหาสาระหรือหมวดประมวลเรื่อง

การแบ่งหมวดหมู่ในสังยุตตนิกาย
การจัดหมวดหมู่ในสังยุตตนิกาย มีลักษณะพิเศษ
ไม่เหมือนในนิกายอื่นๆ สามารถ แบ่งตามลำดับ
ขั้นตอนเป็น 3 อันดับดังนี้
อันดับที่ 1 จัดแบ่งเป็นวรรค
อันดับที่ 2 จัดแบ่งเป็นสังยุต
อันดับที่ 3 จัดแบ่งสังยุตเป็นแบบต่างๆ

 

หนังสือพระไตรปิฎก เล่มที่ 16

หนังสือพระไตรปิฎก เล่มที่ 16
พระสุตตันตปิฎก สังยุตตนิกาย นิทานวรรค
เนื้อหาในคร่าวๆ : หนังสือพระไตรปิฎก เล่มที่ 16

พระไตรปิฎก เล่มที่ 16 คือ
พระสุตตันตปิฎก สังยุตตนิกาย นิทานวรรค

จัดเป็นเล่มที่ 2 ของ สังยุตตนิกาย ที่ว่าด้วยธรรม ที่เป็น
ต้นเหตุแห่งความทุกข์และปฏิปทาเครื่องดำเนินไปสู่
ความดับทุกข์ พระธรรมสังคีติกาจารย์ จึงได้ตั้งชื่อว่า
นิทานวรรค แปลว่า หมวดว่าด้วยเรื่อง ธรรมที่เป็นต้นเหตุ
มีพระสูตรทั้ง หมด 406 พระสูตรด้วยกัน

 

หนังสือพระไตรปิฎก เล่มที่ 17

หนังสือพระไตรปิฎก เล่มที่ 17
พระสุตตันตปิฎก สังยุตตนิกาย ขันธวารวรรค
เนื้อหาในคร่าวๆ : หนังสือพระไตรปิฎก เล่มที่ 17

พระไตรปิฎก เล่มที่ 17 คือ
พระสุตตันตปิฎก สังยุตตนิกาย ขันธวารวรรค
พระไตรปิฎก เล่มที่ 17 นี้ จัดเป็นเล่มที่ 3
สังยุตตนิกาย ว่าด้วยวาระที่เกี่ยวกับขันธ์ 8 คือ
รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ
พระธรรมสังคีติกาจารย์จึงได้ตั้งชื่อว่า ขันธวารวรรค
แปลว่า หมวดว่าด้วยวาระที่เกี่ยวกับขันธ์ มีพระสูตร
ทั้งหมด 716 พระสูตรด้วยกัน

 

หนังสือพระไตรปิฎก เล่มที่ 18
หนังสือพระไตรปิฎก เล่มที่ 18
พระสุตตันตปิฎก สังยุตตนิกาย สฬาตนวรรค
เนื้อหาในคร่าวๆ : หนังสือพระไตรปิฎก เล่มที่ 18
จัดเป็นหนังสือพระไตรปิฎกเล่มที่ 4 ของ สังยุตตนิกาย
ว่าด้วยอายตนะภายในหก 6 คือ
จักขุ โสตะ ฆานะ ชิวหา กาย มโน
และอายตนะภายนอก 6 คือ
รูป รส สัททะ คันธะ รส โผฏฐัพพะ ธรรมารมณ์

พระธรรมสังคีติกาจารย์จึงได้ตั้งชื่อว่า สฬายตนวรรค
ที่แปลว่า หมวดที่ว่าด้วย อายตนะ 6 และมีพระสูตร
ทั้งหมด 420 พระสูตรด้วยกัน

 

หนังสือพระไตรปิฎก เล่มที่ 19 พระสุตตันตปิฎก สังยุตตนิกาย มหาวารวรรค

หนังสือพระไตรปิฎก เล่มที่ 19
พระสุตตันตปิฎก สังยุตตนิกาย มหาวารวรรค
เนื้อหาในคร่าวๆ : หนังสือพระไตรปิฎก เล่มที่ 19
พระไตรปิฎก เล่มที่ 19 เล่มนี้ จัดเป็นเล่มที่ 5
และเป็นเล่มสุดท้ายของสังยุตตนิกาย ว่าด้วยวาระใหญ่
คือวาระที่อธิบายหมวดธรรมไว้เป็นจำนวนมาก
มีหลายนัย พระธรรมสังคีติกาจาย์จึงตั้งชื่อว่า
มหาวารวรรค แปลว่า หมวดว่าด้วยวาระใหญ่
มีพระสูตรทั้งสิ้น 1,008 พระสูตรด้วยกัน

 

หนังสือพระไตรปิฎก เล่มที่ 20 พระสุตตันตปิฎก อังคุตตรนิกาย เอกก ทุก ติกนิบาต

หนังสือพระไตรปิฎก เล่มที่ 20
พระสุตตันตปิฎก อังคุตตรนิกาย เอกก ทุก ติกนิบาต
เนื้อหาในคร่าวๆ : หนังสือพระไตรปิฎก เล่มที่ 20
อังคุตตรนิกาย เป็นชื่อนิกายหนึ่งของพระสุตตันตปิฎก
และนับเป็นนิกายที่ 4 ในจำนวน 5 นิกาย คือ
1. ทีฆนิกาย 2. มัชฌิมนิกาย 3. สังยุตตนิกาย
4.อังคุตตรนิกาย 5.ขุททกนิกาย
อังคุตตรนิกาย รวมอยู่ในคัมภีร์ 5 เล่ม ด้วยกัน เริ่มตั้งแต่
เล่มที่ 20 - เล่มที่ 24

ความหมายของอังคุตตรนิกาย
คำว่า "นิกาย" แปลว่า "หมวด หรือ หมู่
หมายถึงหมวดหมู่ของพระสูตร คำว่า "อังคุตตร"
แปลว่า ที่ยิ่งด้วยองค์ "คำว่า "องค์" ในที่นี้ หมายถึง
จำนวน คือ จำนวนของหัวข้อธรรมในพระสูตรต่างๆ
ของนิกายนี้ ดังนั้น "อังคุตตรนิกาย" จึงแปลว่า
หมวดที่ยิ่งด้วยองค์ หรือหมู่ที่ยิ่งด้วยอค์ เพราะในนิกายนี้
พระสังคีติกาจารย์ ได้รวบรวมและจัดลำดับพระสูตรเข้าไว้
ด้วยกันเป็นหมวดหมู่ ตามจำนวนหัวข้อธรรมไว้เป็นสำคัญ

หนังสือพระไตรปิฎก เล่มที่ 21 พระสุตตันตปิฎก อังคุตตรนิกาย จตุกกนิบาต

หนังสือพระไตรปิฎก เล่มที่ 21
พระสุตตันตปิฎก อังคุตตรนิกาย จตุกกนิบาต
เนื้อหาในคร่าวๆ : หนังสือพระไตรปิฎก เล่มที่ 20
จัดเป็นคัมภีร์เล่มที่ ​2 ของ อังคุตตรนิกาย มีพระสูตรทั้งหมด
782 พระสูตร เป็นนิบาตเดียว คือ จตุกกนิบาต

หนังสือพระไตรปิฎก เล่มที่ 22 พระสุตตันตปิฎก อังคุตตรนิกาย ปัญจก ฉักกนิบาต

หนังสือพระไตรปิฎก เล่มที่ 22
พระสุตตันตปิฎก อังคุตตรนิกาย ปัญจก ฉักกนิบาต
เนื้อหาในคร่าวๆ : หนังสือพระไตรปิฎก เล่มที่ 22
พระไตรปิฎก เล่มที่ 22 คือ พระสุตตันตปิฎก
อังคุตตรนิกาย ปัญจก ฉักกนิบาต
จัดเป็น เล่มที่ 3
ที่มีพระสูตรทั้งหมด 1,801 พระสูตรด้วยกัน และมี
2 นิบาต คือ ปัญจกนิบาต และ ฉักกนิบาต
ที่มาของพระสูตร ในปัญจกนิบาต มีพระสูตรที่มีนิทานวจนะ
กล่าวคือ ที่มาซึ่งปรารภ ทั้งบุคคล และสถานที่ หรือ
ปรารภเฉพาะบุคคล หรือสถานที่อย่างเดียวบ้าง

 

หนังสือพระไตรปิฎก เล่มที่ 23 พระสุตตันตปิฎก อังคุตตรนิกาย สัตตก อัฏฐก นวกนิบาต

หนังสือพระไตรปิฎก เล่มที่ 23
พระสุตตันตปิฎก อังคุตตรนิกาย สัตตก อัฏฐก นวกนิบาต
เนื้อหาในคร่าวๆ : หนังสือพระไตรปิฎก เล่มที่ 23
หนังสือพระไตรปิฎก เล่มนี้ จัดเป็นลำดับเล่มที่ 4 ของอังคุตตรนิกาย
และมีพระสูตรทั้งหมด 2,190 สูตร มี 3 นิบาตร ด้วยกัน
ในสัตตกนิบาต เป็นพระสูตรที่มีนิทานวจนะ กล่าวคือ
ที่มาซึ่งปรารภทั้งบุคคลและสถานที่ หรืออย่างใดอย่างหนึ่ง
อัฏฐกนิบาต คือ หมวดพระสูตร ที่มีหัวข้อธรรม
พระสูตรละจำนวน 8 ประการ

 

หนังสือพระไตรปิฎก เล่มที่ 24
หนังสือพระไตรปิฎก เล่มที่ 24
พระสุตตันตปิฎก อังคุตตรนิกาย ทสก เอกาทสกนิบาต

เนื้อหาในคร่าวๆ : หนังสือพระไตรปิฎก เล่มที่ 24

จัดเป็นหนังสือพระไตรปิฎกเล่มที่ 24
พระสุตตันตปิฎก อังคุตตรนิกาย ทสก เอกาทสกนิบาต
เป็นคัมภีร์เล่มที่ห้าและเป็นเล่มสุดท้ายของอังคุตตรนิกาย
มีพระสูตรทั้งหมด 1417 พระสูตร โดยแบ่งเป็น 2 นิบาต
คือ ทสกนิบาต และ เอกาทสกนิบาต

ทสกนิบาต คือ หมวดพระสูตรที่มีหมวดหัวข้อธรรม
พระสูตรละจำนวน 10 ข้อ มีทั้งหมด 746 พระสูตร

เอกาทสกนิบาต คือ หมวดพระสูตรที่มีหัวข้อธรรม พระสูตรละ 11 ข้อ
มีทั้งหมด 671 พระสูตร

หนังสือพระไตรปิฎก เล่มที่ 25

หนังสือพระไตรปิฎก เล่มที่ 25
พระสุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย ขุททกปาฐะ
ธรรมบท อุทานอิติวุตตกะ สุตตนิบาต

เนื้อหาในคร่าวๆ : หนังสือพระไตรปิฎก เล่มที่ 25

ขุททกนิกาย เป็นชื่อนิกายหนึ่งของพระสุตตันตปิฎก
และนับเป็นนิกายที่ 5 ในจำนวน 5 นิกาย คือ

1 ทีฆนิกาย 2มัชฌิมนิกาย 3สังยุตตนิกาย
4อังคุตตรนิกาย 5 ขุททกนิกาย
คำว่า "ขุททก" แปลว่า เล็กน้อย หรือ เรื่องย่อยๆ ดังนั้น คำว่า
ขุททกนิกาย จึงหมายถึงหมวดพระธรรม หรือพระสูตรเล็กน้อย หรือย่อยๆ
กล่าวคือ หมวดพระธรรมหรือพระสูตรใดที่มีจำนวนน้อยๆ หรือย่อยๆ
จะจัดเข้ามาใน ขุททกนิกาย

 

หนังสือพระไตรปิฎก เล่มที่ 26
พระสุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย วิมานวัตถุ
เปตวัตถุ เถรคาถา เถรีคาถา

เนื้อหาในคร่าวๆ : หนังสือพระไตรปิฎก เล่มที่ 26

พระสุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย เล่มนี้ เป็นพระไตรปิฎก เล่มที่

26 และ นับเป็นคัมภีร์ขุททกนิกาย เล่มที่ 2 ในจำนวน 9
คัมภีร์ขุททกนิกาย เล่มที่ 1 ได้แก่ พระไตรปิฎก เล่มที่ 25
ซึ่งว่าด้วยขุททกปาฐะ (ประมวลบทสวดสั้นๆ)
ส่วนคัมภีร์ขุททกนิกาย เล่มที่ 2 นี้ว่าด้วย
เรื่องต่างๆ 4 เรื่อง ด้วยกัน
คือ 1วิมานวัตถุ 2เปวัตถุ 3เถรคาถา 4เถรีคาถา




สำหรับท่านใด ที่ประสงค์จะชมรายละเอียดเพิ่มเติม
และ สั่งซื้อ หนังสือพระไตรปิฎก ฉบับมาตรฐาน

ภาษาไทย ทั้ง 45 เล่มนี้
ที่จัดพิมพ์โดยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
ร่วมทำบุญสนับสนุน กับมหาวิทยาลัยสงฆ์
สามารถคลิ๊กที่นี่ เพื่อสั่งซื้อ ได้กับทางเจ้าหน้าที่
ในราคามูลนิธิได้เลยครับ

----------------------------------------------
กำลังดำเนินการ ทะยอยอัพเดท เพิ่มเติมข้อมูล ให้จนถึง
พระไตรปิฎก เล่มที่ 45 ให้จนครบ นะครับ
ติดตามหน้า นี้ ไว้ เพื่อ ดูการอัพเดต ทุกๆวัน ที่ หน้านี้ครับ

----------------------------------------------

 

หนังสือพระไตรปิฎก 45 เล่ม ปกใหม่ล่าสุด ที่จัดพิมพ์โดย มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
ข่าวประชาสัมพันธ์ ใหม่ล่าสุด
มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย บัดนี้ ได้จัดพิมพ์ หนังสือพระไตรปิฎก

ออกเผยแพร่ เล่มใหม่ล่าสุด เรียบร้อยแล้ว ครับ
โดย หนังสือพระไตรปิฎก ชุดดังกล่าวนี้ จะมาแทน
พระไตรปิฎก ปกเดิม (ปกสีฟ้า ปั้มทอง) และจัดจำหน่าย
ในราคาเดิม15,000 บาท

 


 

 


ศูนย์จัดพิมพ์หนังสือธรรมะ จัดส่งทั่วประเทศ ในราคาโรงพิมพ์ธรรมทาน
แทรกรายชื่อผู้ร่วมจัดพิมพ์หนังสือพระไตรปิฎก

เชิงเทียน-และงานพุทธศิลป์