รายละเอียด และ รายชื่อ หนังสือพระไตรปิฎก
ภาษาไทย ทั้ง 45 เล่ม โดย มหามกุฏราชวิทยาลัยฯ
หนังสือพระไตรปิฏกภาษาไทย สยามรัฐ แปลไทย
ทั้ง ๔๕ เล่ม จัดพิมพ์ พ.ศ.๒๕๓๙ (เป็นหนังสือปกแดง ตัวอักษรปั้มทอง)
หนังสือทั้งชุด 45 เล่ม
มีจำนวน 3 กล่อง (ที่พิมพ์โดย มหามกุฏราชวิทยาลัยฯ)
ราคามูลนิธิมหามกุฏราชวิทยาลัย ฯ
15,500.- บาท
(
ยังไม่รวมค่าจัดส่งทั่วไทย)
--- --- --- --- --- --- --- --- --- --- --- --- ---
--- --- --- --- --- --- --- --- --- --- --- --- ---
ดำเนินการจัดส่ง โดย
"ศูนย์เผยแพร่พระไตรปิฎกและหนังสือพระพุทธศาสนาไตรลักษณ์"
--- --- --- --- --- --- --- --- --- --- --- --- ---
ช่องทางติดต่อ
ติดต่อสอบถามเพิ่มเติม / สั่งซื้อ / ส่งสลิปการโอนเงิน
สามารถสั่งซื้อ โดยตรง ที่ LINE@ ได้โดยตรงที่
หรือกดที่ ลิงค์ add Line ด้านล่างได้เลยครับ
https://line.me/R/ti/p/%40trilakbooks
ท่านสามารถสอบถามรายละเอียดกับเจ้าหน้าที่ของศูนย์เพิ่มเติม
สามารถโทร.สอบถามรายละเอียดอื่นๆได้ที่
086-461-8505, 02-482-7358, 087-696-7771
ท่านสามารถสอบถามรายละเอียดกับเจ้าหน้าที่
เรื่องลายละเอียดผลิตภัณฑ์ สอบถามสินค้าอื่นๆ สอบถามข้อสงสัย
รวมถึง เรื่อง การจัดส่ง ไปยังสถานที่ต่างๆทั่วประเทศ
โดยปกติ ที่ศูนย์สามารถดำเนินการจัดส่ง ไปถึงวัด
หรือสถานปฏิบัติธรรม และบ้านพักอาศัย ตามที่ลูกค้าต้องการ
--- --- --- --- --- --- ---
ท่านสามารถมาชม ผลิตภัณฑ์ทั้งหมด ด้วยตนเอง
ที่สถานที่ตั้ง ของศูนย์ ตั้งแต่เวลา 8.00-17.00 น
ศูนย์หนังสือไตรลักษณ์ ตั้งอยู่ ที่
พุทธมณฑล สาย 4 ฝั่งเดียวกันกับ พุทธมณฑลองค์พระยืน
ติดกับกำแพง วัดญาณเวศกวัน
สิ่งอำนวยความสะดวก
มีสถานที่จอดรถกว้าง มีร้านกาแฟ
ขนมว่าง
แผนที่สำหรับเดินทาง Google maps
https://goo.gl/maps/Bym61zuguLE2
รีวิวหนังสือพระไตรปิฎก สยามรัฐภาษาไทย
พระไตรปิฎก ฉบับ สยามรัฐ แปลภาษาไทย แล้ว ครบทั้งชุด 45 เล่ม ราคา มูลนิธิ 15500 บาท (ยังไม่รวมค่าจัดส่งทั่วไทย)
รายละเอียด และ รายชื่อ หนังสือพระไตรปิฎกสยามรัฐ
ภาษาไทย ทั้ง 45 เล่ม โดย มหามกุฏราชวิทยาลัย ฯ
จัดพิมพ์โดย มหามกุฏราชวิทยาลัย กรุงเทพ ประเทศไทย
ดำเนินการจัดส่งโดย ศูนย์หนังสือพระพุทธศาสนาไตรลักษณ์
ยังไม่รวมค่าจัดส่งทั่วไทย
สามารถ โทรสอบถามเพิ่มเติมได้ที่ 02-482-7358, 087-696-7771, 086-461-8505
.... .... .... .... .... .... .... .... .... .... .... .... .... .... .... .... .... .... .... ....
หนังสือพระไตรปิฎก สยามรัฐ ภาษาไทย จำนวน 45 เล่ม
หนังสือชุดนี้ คือหนังสือ ที่แปลจาก พระไตรปิฎก ฉบับ บาลี
ซึ่งก่อนหน้านี้ จะมีพระไตรปิฎก ชุด หนึ่ง ที่เรียกว่า สฺยามรฏฺฐสฺส เตปิฎกํ
หรือ พระไตรปิฎก สยามรัฐ ที่ก่อนหน้านี้จะเป็นภาษาบาลี
ต่อมา มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย ก็ได้ทำการแปล
พระไตรปิฎก สฺยามรฏฺฐสฺส เตปิฎกํ (บาลี) ให้เป็นภาษาไทย
และตั้งชื่อว่า พระไตรปิฎก สยามรัฐ ภาษาไทย
เพื่อให้เกิดความเข้าใจ และ ง่ายต่อผู้ที่ ยังไม่ได้ศึกษา ภาษาบาลีชั้นสูง
ให้เกิดความเข้าใจ ในพระไตรปิฎก ฉบับเดิมนี้ ได้ สะดวกยิ่งขึ้น
หนังสือ พระไตรปิฎก ชุดนี้ เป็นหนังสือที่ถูกจขัดพิมพ์โดย
มหามกุฏราชวิทาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์
อารัมภกถาพระไตรปิฎก
พระพุทธวจนะอันเป็นหมวดแห่งพระไตรปิฎก ย่อมเป็นประมวล
พระธัมมวินัยของพระผู้มีพระภาคเจ้า ฯ พระเตปิฎกพุทธวจนะ
ตั้งมั่นอยู่ตราบใด สัมมาปฏิบัติของพระพุทธบริษัทก็งามรุ่งเรืองอยู่ตราบนั้นฯ
เพราะฉะนั้น พระเจ้าแผ่นดิน ผู้พุทธสาสนูปัตถัมภก จึงได้พระราชทาน
แกลังแก่พระสงฆ์พุทธสาวก ให้ทำสังคีติชำระพระเตปิฎกพุทธวจนะ
จารึกลงในสมุดฯ อันนี้ เป็นจริยาวัตต์ของพระเจ้าแผ่นดินเหล่านั้นฯ
ภายหลังมาในพระพุทธศักราช ๒๔๓๖ พระบาทสมเด็จ
พระปรมินทรมหาจุฬาลงกรณ์ พระปิยมหาราช มีพระราชประสงค์จะให้
พระไตรปิฎกแพร่หลายมากขึ้น เมื่อโปรดเกล้าฯ ให้พระสงฆ์ทรง
พระไตรปิฎกในครั้งนั้น ชำระพระไตรปิฎกพุทธวจนะแล้ว จึงทรงสร้าง
พระไตรปิฎกขึ้นเป็นตัวพิมพ์ เป็นครั้งแรกในประเทศสยามฯ
พระไตรปิฎกฉบับพิมพ์นั้น บัดนี้ ก็ได้จำหน่ายหมวดสิ้นไป เป็นของหาได้
ด้วยยาก จึงเป็นเวลาสมควรที่จะพิมพ์พระไตรปิฎกขึ้นใหม่แล้วฯ
อนึ่ง พระบาทสมเด็จพระราราธิบดี ศรีสินทรมหาวชิราวุธ ซึ่ง
เสด็จสวรรคตแล้วในปีนั้น ในกาลใกล้จะสวรรคต ได้มีพระราชดำรัส
สั่งไว้ว่า ให้มีหนังสือเป็นสาสนูปัตถัมภพ อันได้สร้างขึ้นเป็นที่ระฤกถึง
พระองค์สักเรื่องหนึ่งๆ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาประชาธิปก
อันได้เสด็จเถลิงถวัลยราชสมบัติในปัจจุบันนี้ ทรงพระราชดำริว่า
พระไตรปิฎกพุทธวจนะนั้นแล เป็นหนังสือที่ควรพิมพ์ขึ้น เพื่อยัง
พระราชประสงค์ของสมเด็จพระบรมเชษฐาธิราชเจ้าให้สำเร็จ จึ่งได้ทรง
อาราะนาพระเถรานุเถระผู้ทรงไว้ซึ่งพระไตรปิฎก มีสมเด็จพระสัฆราชเจ้า
กรมหมื่นชินวรสิริวัฒน เป็นประธาน ให้ชำระพระไตรปิฎกอีกครั้งหนึ่ง
แลทรงชักชวน มหาชนผู้มีอันอยู่ในสยามรัฏฐนี้ ให้บริจาคทรัพย์เป็นทุนที่
จะพิมพ์ขึ้นฯ
พระไตรปิฎก มีนามว่า สฺยามรฏฺฐสฺส เตปิฎกํ อันเป็นประชุม
แห่งปิฎกทั้งหลายสามนี้ เป็นอันมหาชนผู้มีอยู่ในสยามรัฐ มีพระราชา
เป็นประมุข ได้เริ่มพิมพ์แล้ว โดยกาลเป็นที่ล่วงไปแห่งปี ๒๔๖๘
นับแต่ปรินิพพานของพระผู้มีพระภาคเจ้าฯ
ตรวจเช็คหนังสือพระไตรปิฎก 45 เล่ม ภาษาไทย ฉบับสยามรัฐชุดนี้
ก่อนที่จะดำเนินการจัดส่งต่อไป หนังสือชุดนี้ จะถูกบรรจุภายในกล่อง
ที่ถูกจัดพิมพ์โดยมหามกุฏราชวิทยาลัยเท่านั้น จำนวน 3 กล่อง
ภายในกล่องบรรจุเลขเล่ม ชัดเจน เพื่อให้ง่าย ต่อการ ตรวจเช็ค หนังสือ
บุญใดย่อมเกิดแต่การที่ได้ให้พิมพ์ประชุมแห่งปิฎกสามนี้
ขอส่วนแห่งบุญนั้น จงเป็นผลสำเร็จแด่พระบาทสมเด็จพระรามาธิบดี
ศรีสินทรมหาวชิราวุธ โดยพลันฯ
อนึ่ง โสด
ขอฝูงเทพเจ้า เหล่ามนุษย์ แลหมู่สัตว์ทั้งหลาย จงเป็นผู้เกษม
ไร้ทุกข์ เสงี่ยม สงบ ไม่มีความอาดูร มีสุข ไม่มีเวร มีอิศระ แลเห็น
แต่สิ่งเจริญ ในกาลทุกเมื่อเทอญฯ
------------------------------------------------------------------
คำนำ
พระไตรปิฎก คือพระคัมภีร์จดจารึกพระธรรมคำสอนของ
พระพุทธเจ้า ที่เรียกรวมว่า พระพุทธศาสนา พระธรรมที่จดจารึกไว้ใน
พระไตรปิฎกนั้นคือ คำสอนที่เป็นพุทธภาษิต พระพุทธเจ้าตรัสเอง
สาวกภาษิต พระสาวกกล่าวแสดง อสิภาษิต ฤษีกล่าวแสดง และเทวตาภาษิต
เทวดากล่าวแสดง ประกอบด้วยประโยชน์ ประกอบด้วยธรรม
พระธรรมคำสอนเหล่านี้ มี 2 ลักษณะ คือ พระธรรม ได้แก่ คำสอน
อันแสดงข้อปกิบัติสำหรับคนทั่วไป ข้ออนุญาตบ้าง สำหรับถือปฏิบ้ติ
ของพระภิกษุ รวมเรียกว่า พระพุทธบัญญัติ หรือพระวินัยบัญญัติ
ทั้งพระธรรมและพระวินัยทั้ง 2 นี้ รวมเรียกว่า พระธรรมวินัย อันเป็น
ชื่อของพระพุทธศาสนา ที่พระพุทธองค์ทรงเรียกขานเป็นส่วนมาก
พระธรรมคำสอนของพระพุทธเจ้า เมื่อครั้งพุทธกาลนั้น
เท่าที่ปรากฏหลักฐานในพระคัมภีร์ยังเรียกรวมๆกันว่า ธรรมวินัยบ้าง
พรหมจรรย์บ้าง แสดงว่ายังไม่ได้มีการจัดหมวดหมู่ดังที่เรียกกันว่า
พระไตรปิฎกในบัดนี้ แต่ก็มีหลักฐานในปาสาทิกสูตร ทีฆนิกาย สุตตันตปิฎก
ว่า พระพุทธองค์เคยตรัสแนะนำสงฆ์ว่าควรทำสังคยานาพระธรรมวินัย
เพื่อความตั้งมั่นของพรหมจรรย์ พระสาลีบุตรก็เคยจัดพระธรรมคำสอนของ
พระพุทธองค์เป็นหมวดๆ ดังที่ปรากฎในสังคีติสูตรและทสุตตรสูตร
ทีฆนิกาย สุตตันตปิฎก ในพระวินัยก็มีเรื่องพระโสณกุฏิกัณณะสวด
พระพุทธพจน์ ในอัฏฐกวัคค์ โดยสรภัญญวิธีถวายพระพุทธองค์ และได้รับ
คำสรรเสริญจากพระพุทธองค์ว่า จำได้ดี จำได้แม่นยำ เสียงไพเราะ
จากหลักฐานดังกล่าวนี้แสดงว่า ในครั้งพุทธกาลได้เริ่มมีการจัดระเบียบ
หรือรวบรวม )สังคีติ-สังคายนา พระธรรมคำสอนของพระพุทธเจ้า
เป็นหมวดหมู่กันบ้างแล้ว แต่ไม่ปรากฏหลักฐานชัดเจนว่า จัดอย่างไร
หลังจากพระพุทธปรินิพพานแล้ว จึงปรากฏหลักฐานชุดเจนว่า ได้มี
การสังคยานา คือจัดระเบียบพระธรรมคำสอนของพระพุทธเจ้า หรือธรรมวินัย
เป็น ๕ นิกาย มัชฌิมนิกาย สังยุตตนิกาย อังคุตตรนิกาย
และขุททกนิกาย ในการสังคายนาครั้งที่ ๑ แต่ก็ยังเรียกรวมว่า พระธรรมวินัย
ยังไม่เรียกว่า พระไตรปิฎก ใน ๕ นิกายนี้ ส่วนที่เป็นวินัยรวมอยู่ใน
ขุททกนิกาย เมื่อยังคยานาแล้วก็ได้ทรงจำสืบทอดกันมาจนถึงพุทธศักราช ๒๓๐ เศษ
ในการสังคยานาครั้งที่ ๓ สมัยพระเจ้าอโศกมหาราช
จึงได้มีการสังคายนาจัดระเบียบใหม่อีกครั้งหนึ่ง คือจัดเป็น ๓ ปิฎก
ได้แก่ พระวินัยปิฎก พระสัตตันตปิฎก และพระอภิธรรมปิฎก
โดยแยกส่วนของพระวินัยที่รวมอยู่ในขุททกนิกายออกมาเป็นปิฎกหนึ่ง
เรียกว่า พระวินัยปิฎก และแยกเอาเฉพาะข้อธรรมจากคำสอนทั้งปวงมา
เป็นปิฎกหนึ่งเรียกว่า อภิธัมมปิฎก ส่วนนอกนี้รวมเป็นปิฎกหนึ่งเรียกว่า
พระสัตตันตปิฎก พระไตรปิฎก ซึ่งคำบาลีเรียกว่า เตปิฎกํ จึงเกิดมีขึ้น
ในยุคนี้ แล้วก็ได้ทรงจำสืบทอดกันต่อมา
ครั้นพระพุทธศาสนาได้แพร่หลายไปยังดินแดนต่างๆ
โดยพระธรรมทูตในสมัยพระเจ้าอโศกมหาราช พระธรรมทูตสายหนึ่งได้นำ
พระพุทธศาสนาไปประดิษฐาน ณ เกาะลังกา ซึ่งปัจจุบันเรียกว่า ศรีลังกา
และได้เจริญตั้งมั่นขึ้น ณ ประเทศนั้น คัมภีร์ของพระพุทธศาสนา
ทั้งพระไตรปิฎกและอรรถกถา ได้ถูกนำจากอินเดีย มาสู่ลังกา แต่ครั้งนั้น
เมื่อพระพุทธศาสนาได้ประดิษฐานมั่นคงในลังกาแล้ว ประมาณพุทธศักราช
๔๕๐ คณะสงฆ์ลังกาได้พิจารณาเห็นว่า พระไตรปิฎกอันเป็นประมวล
พระธรรมคำสอนของพระพุทธศาสนา ซึ่งได้ทรงจำสืบทอดกันมาแต่ต้นนั้น
มาบัดนี้ ความจำของมนุษย์เสื่อมถอยลง หากไม่ได้มีการจดจารึกลงเป็น
ตัวอักษรแล้ว ก็อาจจะทำให้พระธรรมคำสอนของพระพุทธศาสนา เสื่อมสูญ
ไปได้ จึงได้ประชุมทำสังคายนาพระไตรปิฎกแล้วจดจารึกลงเป็นตัวอักษร
สิงหล คัมภีร์พระไตรปิฎกภาษาบาลีอักษรสิงหลจึงได้เกิดมีขึ้นเป็นครั้งแรก
พระไตรปิฎกบาลีอักษรสิงหลจึงได้เป็นแบบหรือเป็นต้นฉบับของพระไตรปิฎก
ฝ่ายเถรวาทสืบมาแต่บัดนั้น
เมื่อพระพุทธศานาจากลังกาได้แผ่ขยายไปสู่ดินแดนต่างๆ เช่น
มอญ พม่า ไทย ลาย เขมร ประเทศเหล่านั้นก็ได้รับเอาพระไตรปิฎกบาลี
จากลังกาไปด้วย โดยการคัดลอกสืบๆ กันมาด้วยอักษรในภาษาของตนๆ
และโดยที่พระไตรปิฎกที่แต่ละประเทศมีอยู่นั้นได้รับการถ่ายทอดสืบๆ
กันมาโดยวิธีการคัดลอก จึงเป็นเหตุ ให้พระไตรปิฎกของแต่ละประเทศ
มีความแตกต่างกันไปบ้าง ในเรื่องของการจัดระเบียบเนื้อหา วรรคตอน
และถ้อยคำ แต่เนื้อหาโดยรวมนั้น ถือว่าเหมือนกัน เพราะมาจากแหล่ง
ต้นเดิมอันเดียวกัน
สำหรับพระไตรปิฎกของไทยนั้น ถือว่าได้รับต้นแบบมาจากลังกา
ตั้งแต่ครั้งกรุงสุโขทัย โดยบางส่วนอาจรับผ่านมาทางมอญบ้าง บางส่วน
มารับผ่านมาทางพม่าบ้าง และบางส่วนก็รับมาจากลังกาโดยตรง ในเวลาที่
ต่างกัน คนไทยก็ได้รับคัดลอกพระไตรปิฎกดังกล่าวไว้ด้วยอักษรในภาษา
ของตน แต่ส่วนมากนิยมคัดลอกไว้ด้วยอักษรขอมในใบลาน และได้คัดลอก
และถ่ายทอดสืบๆ กันมาด้วยวิธีนี้ จนกระทั่งถึงสมัยรัชกาลที่ ๕ แห่ง
กรุงรัตนโกสินทร์ พระบาทสมเด็๗พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวจึงได้โปรดให้
ทำสังคายนาตรวจชำระพระไตรปิฎก แล้วคัดลอกจากอักษรขอม
เป็นอักษรไทย แล้วจัดพิมพ์คัมภีร์พระไตรปิฎกบาลีเป็นหนังสือเล่มด้วย
อักษรไทย แล้วจัดพิมพ์คัมภีร์พระไตรปิฎกฝ่ายเถรวาทอักษรไทยครั้งแรก
เมื่อพุทธศักราช ๒๔๓๑
มาในรัชกาลที่ ๗ พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวทรง
พระกรุณาโปรดให้ชำระพระไตรปิฎกแล้วจัดพิมพ์ขึ้นใหม่อีกครั้งหนึ่ง
ถวายเป็นพระบรมราชุสาวรีย์แด่พระบาทสมเด็จพระมงกุฏเกล้าเจ้าอยู่หัว
ในการพิมพ์ครั้งนี้ เพิ่มเติมส่วนที่ขาดไป ๖ เล่ม และเพิ่มเติมท้ายเล่ม
๔๔ ที่ขาดหายไปครึ่งหนึ่ง คืออนุโลมติกติกปัฏฐานและอนุโลมทุกทุกปัฏฐาน
ให้ครบบริบูรณ์ เป็นหนังสือ ๔๕ เล่ม เรียกว่าพระไตรปิฎกฉบับสยามรัฐ
เมื่อพุทธศักราช ๒๔๖๘ พิมพ์เสร็จสมบูรณ์ เมื่อพุทธศักราช ๒๔๗๓
นับเป็นพระไตรปิฎกฝ่ายเถรวาทที่จัดพิมพ์สมบูรณ์ฉบับแรกของโลก
พระไตรปิฎกฉบับสยามรัฐจึงได้ชื่อว่า เป็นพระไตรปิฎกแบบไทย ที่บูรพาจารย์ของไทย
ได้รักษาเป็นมรดกตกทอดกันมาตั้งแต่โบราณกาลจนถึงปัจจุบัน
|
ถึงพุทธศักราช ๒๔๘๓ คณะสงส์ได้ดำเนินการแปลพระไตรปิฎก
เป็นภาษาไทย และได้ดำเนินการแปลจบบริบูรณ์ และจัดพิมพ์เป็น
อนุสรณ์ในงานฉลอง ๒๕ พุทธศตวรรษ พุทธศักราช ๒๕๐๐
เป็นครั้งแรก มีจำนวน ๘๐ เล่ม เรียกว่า พระไตรปิฎก
ภาษาไทย ในการพิมพ์ครั้งต่อๆมา ได้ จัดรวมเป็นเล่มใหม่
เป็น ๔๕ เล่ม เท่ากับพระไตรปิฎกภาษาบาลี พระไตรปิฎก
ภาษาไทยดังกล่าวนี้ได้เป็นต้นฉบับของการจัดทำพระไตรปิฎก
ภาษาไทย ฉบับอื่นๆ ซึ่งได้มีการจัดทำขึ้นอีกหลายฉบับ
พุทธศักราช ๒๕๒๕ มูลนิธิมหามกุฏราชวิทยาลัย
ในพระบรมราชูปถัมภ์ ได้จัดทำพระไตรปิฎกภาษาไทย
พร้อมทั้งอรรถกถาภาษาไทยขึ้น เพื่อเป็น
อนุสรณ์ในการเฉลิมฉลองกรุงรัตนโกสินทร์ ๒๐๐ ปี
โดยเรียกว่า พระวินัยและอรรถกถาแปล พระสูตรแล
ะอรรถกถาแปล รวมเป็นหนังสือชุดหนึ่ง ๙๑ เล่ม
นับเป็นครั้งแรกที่ได้มีการ จัดพิมพ์หนังสือพระไตรปิฎกพร้อม
ทั้งอรรถกถา แปลเป็นภาษาไทย |
ครั้นพุทธศักราช ๒๕๔๖ ได้ตรวจชำระอีกครั้งหนึ่ง แล้วพิมพ์ขึ้นใหม่
ถวายเป็นพระอนุสรณ์เทิดพระเกียรติแด่เจ้าพระคุณสมเด็จ
พระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปริณายก (เจริญ สุวฑฺฒโน)
เนื่องในการฉลองพระชนมายุ ๙๐ พรรษา ๓ ตุลาคม ๒๕๔๖
ในการพิมพ์ครั้งนี้ได้เปลี่ยนชื่อเป็น พระไตรปิฎกและอรรถกถาแปล
ทั้งนี้ก็เพื่อส่งเสริมและเอื้อให้ผู้ศึกษาค้นคว้าพระ่ไตรปิฎก ได้มีเครื่องมือ
ประกอบการศึกษาค้นคว้าได้กว้างขวางยิ่งขึ้น
ต่อมาทางมูลนิธิมหามกุฏราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์
พิจารณาเห็นว่า เพื่ออำนวยความสะดวกแก่ผู้ศึกษาค้นคว้า ซึ่งบางท่าน
อาจต้องการเฉพาะพระไตรปิฎกแปลเป็นไทย แต่บางทาสนอาจต้องการ
เฉพาะอรรถกถาแปลเป็นไทย แต่บางท่านอาจต้องการให้มีทั้งพระไตรปิฎก
และอรรถกถาแปลเป็นไทยรวมอยู่ด้วยกัน อันเป็ฯการสะดวกในการ
ศึกษาค้นคว้า ทางมูลนิธิมหามกุฏราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์ จึงได้
จัดพิมพ์เฉพาะพระไตรปิฎกแปลเป็นไทย ๔๕ เล่ม และเฉพาะอรรถกถาแปลเป็นไทย
๔๘ เล่มขึ้นมาอีกชุดหนึ่ง
สำหรับพระไตรปิฎกเป็นไทย ๔๕ เล่มนั้น เรียกว่า พระไตรปิฎกสยามรัฐ ภาษาไทย
เพราะแปลมาจากพระไตรปิฎกสยามรัฐภาษาบาลี
พระไตรปิฎกสยามรัฐ ภาษาไทย ๔๕ เล่มที่จัดพิมพ์ขึ้นในครั้งนี้
ได้คัดแยกออกมาจากพระไตรปิฎกและอรรถกถาแปล ๙๑ เล่ม
ของมหามกุฏราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์ นั่นเอง ฉะนั้น
เนื้อความและการจัดวรรคตอนทั้งหมด จึงเหมือนกับพระไตรปิฎกและอรรถกถา
แปลดังกล่าวแล้ว จะมีแก้ไขบ้างก็เฉพาะคำที่พิมพ์ผิดหรือ ตกหล่นเท่านั้น
มูลนิธิมหามกุฏราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์
มกราคม พุทธศักราช ๒๕๕๙
.... .... .... .... .... .... .... .... .... .... .... .... .... .... .... .... .... .... .... ....
สามารถโทร.สอบถามรายละเอียดการสั่งซื้อและการจัดส่งทั่วประเทศได้ที่
086-461-8505, 02-482-7358, 087-696-7771
LINE : @trilakbooks
หรือกดที่ ลิงค์ add Line ด้านล่างได้เลยครับ
https://line.me/R/ti/p/%40trilakbooks
--- --- --- --- --- --- ---
แผนที่สำหรับเดินทาง มาด้วยตนเอง ที่
https://goo.gl/maps/Bym61zuguLE2
.... .... .... .... .... .... .... .... .... .... .... .... .... .... .... .... .... .... .... ....
ตู้พระไตรปิฎก สำหรับ : |
พระไตรปิฎก ฉบับ 45เล่มไทย
สยามรัฐ โดยมหามกุฏฯ
|
ตู้พระไตรปิฎกสีขาว ลวดลายทอง 9,900.-
ด้านบนของตู้เป็นจั่ว และ ประดับลวดลายทอง ตลอดทั้งหลัง
และประดับด้วยกระจกสี อย่างปราณีตและงดงาม
ี |
ตู้พระไตรปิฎก ทรง A รุ่นกลอนไม้ขัด
สำหรับพระไตรปิฎก 45 เล่มไทย, บาลี, ส.ธรรมภักดี
แบบลงรักปิดทอง ราคา 12,000 บาท |
ตู้พระไตรปิฎก ทรงตรง รุ่นประดับจั่วบน
สำหรับพระไตรปิฎก 45 เล่มไทย, บาลี, ส.ธรรมภักดี
แบบลงรักปิดทองสำหรับ
ราคา 10,900 บาท |
ตู้พระไตรปิฎก ทรงสี่เหลี่ยมคางหมู ลงรักปิดทอง
ประดับลวดลายทอง พร้อมปิดกระจกสี
สีสันสดใสงดงาม และแข็งแรงทนทาน
สำหรับพระไตรปิฎก 45 เล่มไทย, บาลี, ส.ธรรมภักดี
แบบลงรักปิดทองสำหรับ
ราคา 10,000 บาท |
|
ตู้พระไตรปิฎก ไม้สักแท้ทั้งหลัง ทรงสี่เหลี่ยมคางหมู
สำหรับพระไตรปิฎก 45 เล่มไทย, บาลี, ส.ธรรมภักดี
กระจกด้านหน้าบานใหญ่ ราคา 11,000 บาท |
ตู้พระไตรปิฎก ทรงตรง ด้านข้างผนึกไม้สัก
ไม้สักแท้ทั้งหลัง ทรงตรง กระจกด้านหน้า 8 บาน
ด้านข้างตู้ ผนึกด้วยไม้สัก ทั้งหลัง แข็งแรงทนทาน
สำหรับพระไตรปิฎก 45 เล่มไทย, บาลี, ส.ธรรมภักดี
และมีเอกลักษณ์ เฉพาะตัว ไม้เหมือนใคร ราคา 11,000 บาท |
ตู้พระไตรปิฎก
ไม้สักแท้ทั้งหลัง ทรงสี่เหลี่ยมคางหมู
พร้อมทั้งเดินลวดลายเส้นทอง
กระจกด้านหน้า 6 บานขนาดใหญ่เป็นพิเศษ
ด้วยทรงสี่เหลี่ยมคางหมู ทำให้ดู มั่นคงและ แข็งแรง
และปราณีตงดงามด้วย สุดยอดงานช่างที่บรรจงสรรสร้าง
สำหรับพระไตรปิฎก 45 เล่มไทย, บาลี, ส.ธรรมภักดี
โดดเด่นสะดุดตา งดงามด้วยฝีมือช่าง ราคา 12,000 บาท
|
ตู้พระไตรปิฎก ทรงตรง ไม้สักแท้ทั้งหลัง เดินเส้นทอง
สำหรับพระไตรปิฎก 45 เล่มไทย, บาลี, ส.ธรรมภักดี
และประดับด้วยกระจกสี แข็งแรงทนทาน ราคา 9,500 บาท
|
ตู้พระไตรปิฎก ทรงตรง ประดับจั่วด้านบน เดินเส้นทอง
สำหรับพระไตรปิฎก 45 เล่มไทย, บาลี, ส.ธรรมภักดี
และประดับด้วยกระจกสี สีเหลือง ราคา 9,500 บาท
|
ตู้พระไตรปิฎก ทรงสี่เหลี่ยมคางหมู สีแดงลวดลายทอง
หน้าจกหน้าบานใหญ่ 6 บาน
ประลวดลายทอง พร้อม ติดกระจกสีด้านหน้าและด้านข้าง
สำหรับพระไตรปิฎก 45 เล่มไทย, บาลี, ส.ธรรมภักดี
ไม่เหมือนใคร ราคา 8,500 บาท
|
ตู้ สำหรับบรรจุหนังสือพระไตรปิฎก
ไม้สักแท้ทั้งหลัง ทรงตรง สลักลายจั่วลายดอกไม้
ด้วยช่างฝีมืออาชีพ ที่บรรจงสลักอย่างมีเสน่ห์
สำหรับพระไตรปิฎก 45 เล่มไทย, บาลี, ส.ธรรมภักดี
แข็งแรงทนทาน ราคา 9,500 บาท |
ตู้พระไตรปิฎกไม้สักแท้ทั้งหลัง ทรงตรง
เป็นตู้รูปทรงมาตรฐาน ที่ใช้บรรจุหนังสือกันอย่างแพร่หลาย
สำหรับพระไตรปิฎก 45 เล่มไทย, บาลี, ส.ธรรมภักดี
แข็งแรงทนทาน ราคา8,500 บาท |
|
|
|
|
สามารถโทร.สอบถามรายละเอียดอื่นๆได้ที่
086-461-8505, 02-482-7358, 087-696-7771
LINE : @trilakbooks
หรือกดที่ ลิงค์ add Line ด้านล่างได้เลยครับ
https://line.me/R/ti/p/%40trilakbooks
--- --- --- --- --- --- ---
แผนที่สำหรับเดินทาง มาด้วยตนเอง ที่
https://goo.gl/maps/Bym61zuguLE2
ราคาหนังสือพระไตรปิฎก ในราคามูลนิธิ ของมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย และ มหามกุฏราชวิทยาลัยฯ
|
1. พระไตรปิฎก 45 เล่ม ภาษาไทย (ปกสีฟ้า) โดย มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย |
ราคา 15,000 บาท
|
2. พระไตรปิฎก 45 เล่ม ภาษาไทย (ปกสีเหลือง) โดย มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
|
ราคา 15,000 บาท
|
3. พระไตรปิฎกสยามรัฐ 45 เล่ม ภาษาบาลีอักษรไทย โดย มหามกุฏราชวิทยาลัย
|
ราคา 13,000 บาท
|
4. พระไตรปิฎกสยามรัฐ 45 เล่ม แปลภาษาไทย โดย มหามกุฏราชวิทยาลัย
|
ราคา 15,500 บาท
|
5. ชุดอรรถกถาภาษาไทย 55 เล่ม โดย มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
|
ราคา 20,000 บาท
|
6. พระไตรปิฎกภาษาไทย และอรรถกถาแปล 91 เล่ม โดย มหามกุฏราชวิทยาลัย
|
ราคา 25,000 บาท
|
7. หนังสือชุดวิชาการ สำหรับพระภิกษุสงฆ์
|
ราคา 3,610 บาท
|
8. หนังสือพระไตรปิฎก ฉบับ กระเป๋า โดย คณะศิษย์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
|
ราคา 3,500 บาท
|
9. หนังสือพระไตรปิฎก ที่ คัดแยกเฉพาะ พุทธศาสนสุภาษิต
|
ราคา 1,300 บาท
|
10. พระไตรปิฎก ฉบับ สำหรับประชาชน โดย อ.สุชีพ ปุญญานุภาพ พิมพ์โดย มหามกุฏราชวิทยาลัยฯ (ปกแข็ง)
|
ราคา 500 บาท
|
11. พระไตรปิฎก ฉบับ สำหรับประชาชน โดย อ.สุชีพ ปุญญานุภาพ (ปกหนัง-ขอบกระดาษทอง)
|
ราคา 500 บาท
|
12. พระไตรปิฎกฉบับ คัดสรร ๕ เล่ม โดย อ.วศิน อินทสระ
|
ราคา 1750 บาท
|
13. ชุดหนังสือ วิสุทธิมรรค-และ-วิมุตติมรรค
|
ราคา 900 บาท
|
14. หนังสือพุทธธรรม ฉบับ ปรับขยาย (ล่าสุด) โดยสมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (ป.อ.ปยุตฺโต)
|
ราคา 700 บาท
|
15. ชุดหนังสือ มิลินทปัญหา และ สัตตปัพพบุพพสิกขาและบุพพสิกขาวรรณนา โดย มหามกุฏราชวิทยาลัย
|
ราคา 700 บาท
|
16. วิมุตติมรรค ทางแห่งความหลุดพ้น พระอุปาติสสเถระ : รจนา
|
ราคา 300 บาท
|
17. วิสุทธิมรรค โดย พระพุทธโฆสเถรรจนา สมเด็จพระพุฒาจารย์ (อาจ อาสภมหาเถร) แปลและเรียบเรียง
|
ราคา 600 บาท
|
18. พระไตรปิฎกฉบับที่ทำให้ง่ายแล้ว-โดย-วศินอินทสระ-เรียบเรียง
|
ราคา 380 บาท
|
19. ประมวลศัพท์-ประมวลธรรม-2เล่ม คู่มือสำคัญสำหรับศึกษาควบคู่กับพระไตรปิฎก
|
ราคา 550 บาท
|
20. สัตตปัพพบุพพสิกขาเเละบุพพสิกขาวรรณนา-มหามกุฏราชวิทยาลัย
|
ราคา 400 บาท
|
21. มิลินทปัญหา-ฉบับเเปลไทย โดย มหามกุฏุราชวิทยาลัย
|
ราคา 300 บาท
|
22. พระคัมภีร์บาลีปาฏิโมกข์ฉบับมาตรฐานและชุดที่ใช้ถวายแด่พระภิกษุสงฆ์
|
ราคา 3,500 บาท
|
23. พระไตรปิฎก สิ่งที่ชาวพุทธต้องรู้ (หนังสือแรกเริ่มของการศึกษาพระไตรปิฎก แบบเข้าใจง่ายอย่างถ่องแท้) |
ราคา 27 บาท
|
สามารถสอบถามรายละเอียด/สั่งซื้อหนังสือในราคามูลนิธิ ได้ที่ LINE : @TRILAKBOOKS |
|
|